ผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อโรค CHEMGENE สามารถฆ่าเชื้อโรค, เชื้อแบคทีเรีย, เชื้อไวรัส, เชื้อรา, H1N1, ไวรัส RSV, ฝีดาษลิง และ ฆ่าเชื้อโควิด-19, SARS-CoV-2, Omicron, โอมิครอน ตายภายใน 1 นาที 99.85% ปกป้องยาวนานถึง 14 วัน

โควิด19 เด็กอายุเท่าไหร่ต้องสวมหน้ากากอนามัย

โควิด19 เด็กอายุเท่าไหร่ต้องสวมหน้ากากอนามัย

[vc_row css=”.vc_custom_1646315198459{margin-top: 20px !important;margin-right: 20px !important;margin-left: 20px !important;}”][vc_column][vc_column_text] โควิด19 เด็กอายุเท่าไหร่ต้องสวมหน้ากากอนามัย [/vc_column_text][vc_column_text css=”.vc_custom_1653242075800{margin-top: 5px !important;}”]โควิด19วันนี้ยังคงเป็นประเด็นที่ได้รับความสนใจเป็นอย่างมากจากประชาชน ทั้งจำนวนของผู้ติดเชื้อในแต่ละวัน และผู้เสียชีวิต นพ.จิรรุจน์ ชมเชย กุมารแพทย์เชี่ยวชาญโรคระบบหายใจ กลุ่มงานกุมารเวชกรรม โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊ก Jiraruj Praise โดยมีข้อความระบุว่า หน้ากากอนามัย (mask) แนะนำสำหรับเด็กอายุ 2 ปี ขึ้นไป ไม่ว่าจะไปเปิด guideline ของประเทศไหนก็ยังแนะนำที่ 2 ปี ขึ้นไป หน้ากากเด็กที่ผ่านมาตรฐาน FDA ทั้งหลาย ก็จะระบุ อายุ2 ปี ขึ้นไป การใส่หน้ากากในเด็กที่อายุน้อยกว่านั้น จำเป็นต้องสังเกตการหายใจของเด็ก หากต้องใส่ต่อเนื่อง[/vc_column_text][vc_single_image image=”7783″ img_size=”full” alignment=”center”][vc_column_text css=”.vc_custom_1653242136337{margin-top: 5px !important;}”]ดังนั้น การสวมหน้ากากของผู้ใหญ่ จึงช่วยป้องกันเด็กเล็กของเราจากโควิด-19 […]

เตือน ไข้มาลาเรีย สายพันธุ์โนวไซ ระบาดหลังพบติดเชื้อ 70 ราย

เตือน ไข้มาลาเรีย สายพันธุ์โนวไซ ระบาดหลังพบติดเชื้อ 70 ราย

[vc_row css=”.vc_custom_1646315198459{margin-top: 20px !important;margin-right: 20px !important;margin-left: 20px !important;}”][vc_column][vc_column_text] เตือน ไข้มาลาเรีย สายพันธุ์โนวไซ ระบาดหลังพบติดเชื้อ 70 ราย [/vc_column_text][vc_column_text css=”.vc_custom_1653063048216{margin-top: 5px !important;}”]กรมควบคุมโรค เตือน! โรค ไข้มาลาเรีย สายพันธุ์ “โนวไซ” เป็นโรคที่ติดจากลิงสู่คน หลังพบติดเชื้อแล้ว 70 ราย ตอนนี้อยู่ในช่วงเฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด โดยอาการคือ ไข้สูง ปวดศีรษะ หนาวสั่น เหงื่อออกมาก กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เตือน ผู้ที่ทำงานใกล้ชิดลิง หรือ อยู่อาศัยแนวชายป่า มีโอกาสป่วยเป็นโรคไข้มาลาเรียสายพันธุ์ “โนวไซ” ซึ่งเชื้อชนิดนี้สามารถติดต่อจากลิงสู่คนได้ และแบ่งตัวในร่างกายคนได้เร็วและมากกว่าเชื้อชนิดอื่น ทำให้มีอาการไข้สูง หนาวสั่น แต่การรักษายังสามารถใช้ตัวยาเดียวกับเชื้อชนิดอื่นได้ หากสงสัยให้รีบพบแพทย์ทันที พร้อมแจ้งประวัติการสัมผัสลิง เพื่อรักษาได้ทันเวลา[/vc_column_text][vc_single_image image=”7738″ img_size=”full” alignment=”center”][vc_column_text css=”.vc_custom_1653063068232{margin-top: 5px !important;}”]ในวันนี้ […]

กทม. ติดโควิด สะสมทะลุ 260,000 จอมทองอ่วมหนักสุด

กทม. ติดโควิด สะสมทะลุ 260,000 จอมทองอ่วมหนักสุด

[vc_row css=”.vc_custom_1646315198459{margin-top: 20px !important;margin-right: 20px !important;margin-left: 20px !important;}”][vc_column][vc_column_text] กทม. ติดโควิด สะสมทะลุ 260,000 จอมทองอ่วมหนักสุด [/vc_column_text][vc_column_text css=”.vc_custom_1650551052200{margin-top: 5px !important;}”] “10 เขตติดเชื้อสูงสุด” วันนี้กรุงเทพฯ ติดโควิด กระจายทั่วพื้นที่ครบ 50 เขต ติดทะลุ 100 เจ็ดเขต เสียชีวิต 12 ราย เขตจอมเชื้อพุ่งหนักสุด กรุงเทพมหานคร โดยสำนักงานประชาสัมพันธ์ อัปเดต “10 เขตติดเชื้อสูงสุด” ประจำวันที่ 21 เมษายน 2565  ดังนี้  ข้อมูลผู้ติดเชื้อ 50 เขต  ที่อยู่ขณะป่วยอยู่ใน กทม. 2,403 ราย  ที่อยู่ขณะป่วยอยู่ต่างจังหวัดเข้ารักษารพ. ใน กทม. 504 ราย รวมทั้งหมด 2,907 ราย[/vc_column_text][vc_single_image image=”7663″ img_size=”full” alignment=”center”][vc_column_text css=”.vc_custom_1650551091776{margin-top: 5px !important;}”] […]

โควิดจะกลายเป็น โรคประจำถิ่น ความรุนแรงลด ภูมิต้านทานมากขึ้น

โควิดจะกลายเป็น โรคประจำถิ่น ความรุนแรงลด ภูมิต้านทานมากขึ้น

[vc_row css=”.vc_custom_1646315198459{margin-top: 20px !important;margin-right: 20px !important;margin-left: 20px !important;}”][vc_column][vc_column_text] โควิดจะกลายเป็น โรคประจำถิ่น ความรุนแรงลด ภูมิต้านทานมากขึ้น [/vc_column_text][vc_column_text css=”.vc_custom_1650292359923{margin-top: 5px !important;}”] “หมอยง” ระบุ โควิด จะอยู่ตลอด กลายเป็น “โรคประจำถิ่น” ในที่สุด ความรุนแรงจะลดน้อยลง ประชากรมีภูมิต้านทานมากขึ้น ทั้งจากวัคซีนหรือการติดเชื้อ “หมอยง” ศ.นพ.ยง ภู่วรวรรณ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยา คลินิกภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้โพสต์ผ่านเฟสบุ๊ค Yong Poovorawan เปิดเผยว่า โควิด 19 จะอยู่กับเราตลอดไป และจะเป็น “โรคประจำถิ่น” ในที่สุด เมื่อคนส่วนใหญ่มีภูมิต้านทานที่เกิดจากวัคซีนหรือการติดเชื้อ ความรุนแรงของโรคจะน้อยลง และจะมียารักษาเพิ่มขึ้น เหมือนไข้หวัดใหญ่ ที่มียา oseltamivir และจะมีการพัฒนายารักษาได้ดียิ่งขึ้น[/vc_column_text][vc_single_image image=”7653″ img_size=”full” alignment=”center”][vc_column_text css=”.vc_custom_1650292445413{margin-top: 5px !important;}”]การศึกษา สังคม เศรษฐกิจและการท่องเที่ยว ต้องเดินหน้าให้กลับมาสู่ภาวะปกติใกล้เคียงกับก่อนการเกิดระบาดของโรค เดินหน้าไปด้วยความรอบคอบ จากการศึกษาที่ผ่านมากว่า 2 ปี แม้มีการสูญเสีย ประเทศไทยเป็นประเทศหนึ่งที่มีการจัดการได้ดี ยอดผู้ป่วยตายต่อจำนวนประชากรดีกว่าหลายประเทศที่พัฒนาแล้ว […]

รับ ชุดตรวจ ATK ฟรี ผ่านแอปฯเป๋าตัง

สปสช. แจกชุดตรวจโควิด ATK ฟรี ผ่านแอปฯ เป๋าตัง สำหรับประชาชนกลุ่มเสี่ยง

[vc_row css=”.vc_custom_1646315198459{margin-top: 20px !important;margin-right: 20px !important;margin-left: 20px !important;}”][vc_column][vc_column_text] รับ ชุดตรวจ ATK ฟรี ผ่านแอปฯเป๋าตัง [/vc_column_text][vc_column_text css=”.vc_custom_1650207677728{margin-top: 5px !important;}”] สปสช. แจกชุดตรวจโควิด ATK ฟรี ผ่านแอปฯ เป๋าตัง สำหรับประชาชนกลุ่มเสี่ยง ต้องทำอย่างไร อัพเดทเงื่อนไข-คุณสมบัติได้ที่นี่ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ในปัจจุบันประชาชนจำนวนไม่น้อยที่ยังต้องการรับชุดตรวจ Antigen Test Kit หรือ ATK ได้ฟรี ซึ่งสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ หรือ สปสช. ให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อโควิดทุกสิทธิการรักษาขอรับชุดตรวจโควิดได้ฟรีผ่านทางแอปพลิเคชั่น “เป๋าตัง”[/vc_column_text][vc_column_text css=”.vc_custom_1650207798649{margin-top: 5px !important;}”] หลักเกณฑ์การรับ ชุดตรวจ ATK – ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสามารถรับชุดตรวจ ATK ฟรี ในครั้งแรก 2 ชุด – ให้นำชุดตรวจ ATK ที่ได้รับมาตรวจหาเชื้อทันที […]

พบโอไมครอน สายพันธุ์ย่อย BA.4 และ BA.5 ในยุโรปและแอฟริกาใต้

โอไมครอน สายพันธุ์ย่อย BA.4 และ BA.5

[vc_row css=”.vc_custom_1646315198459{margin-top: 20px !important;margin-right: 20px !important;margin-left: 20px !important;}”][vc_column][vc_column_text] พบโอไมครอน สายพันธุ์ย่อย BA.4 และ BA.5 ในยุโรปและแอฟริกาใต้ [/vc_column_text][vc_column_text css=”.vc_custom_1650124976611{margin-top: 5px !important;}”]พบ โอไมครอน สายพันธุ์ย่อย BA.4 และ BA.5 ติดเชื้อในกลุ่มผู้ที่ฉีดวัคซีนครบโดส ซึ่งมีอายุระหว่าง 30 ถึง 50 ปี องค์การอนามัยโลก “WHO”  พบสายพันธุ์ย่อยของ “โอไมครอน”  BA.4 และ BA.5 กำลังระบาดในแอฟริกาใต้และยุโรป เรื่องนี้เปิดเผยโดย มาเรีย แวน เคอร์คอฟ หัวหน้าฝ่ายเทคนิคขององค์การอนามัยโลก (WHO) ที่ออกมาระบุว่า “สายพันธุ์ย่อย”  BA.4 และ BA.5 กำลังระบาดในบอตสวานา แอฟริกาใต้ เยอรมนี และเดนมาร์ก แต่ความเร็วในการติดต่อและความรุนแรง ไม่อันตรายถึงชีวิตเมื่อเทียบกับสายพันธุ์ “โอไมครอน” ดั้งเดิม แต่ยังคงต้องเฝ้าติดตามการเปลี่ยนแปลงกรณีที่พบผู้ป่วยใหม่เพิ่มขึ้น[/vc_column_text][vc_single_image image=”7634″ img_size=”full” alignment=”center”][vc_column_text css=”.vc_custom_1650125001340{margin-top: 5px !important;}”]สำหรับ […]

เห็นชอบลดวัน กักตัวโควิด19 เหลือ5+5วัน

ลดวันกักตัวผู้สัมผัสเสี่ยงสูงเหลือ 5+5วัน

[vc_row css=”.vc_custom_1646315198459{margin-top: 20px !important;margin-right: 20px !important;margin-left: 20px !important;}”][vc_column][vc_column_text] เห็นชอบลดวัน กักตัวโควิด19 เหลือ5+5วัน [/vc_column_text][vc_column_text css=”.vc_custom_1650009796080{margin-top: 5px !important;}”]คกก.โรคติดต่อแห่งชาติเห็นชอบ 4 เรื่องสำคัญ พร้อมรับทราบลดวันกักตัวผู้สัมผัสเสี่ยงสูงเหลือ 5+5วัน ตามที่คกก.วิชาการเห็นชอบ ชงศปก.ศบค.ต่อ คาดเริ่มหลังสงกรานต์ 2565 เมื่อวันที่ 11 เม.ย.2565 นายอนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรีและรมว.สาธารณสุข(สธ.) ให้สัมภาษณ์ภายหลังเป็นประธานการประชุมคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ ว่า ที่ประชุมได้พิจารณาเห็นชอบอนุบัญญัติภายใต้ พ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ. 2558 ใน 4 ประเด็นสำคัญ คือ[/vc_column_text][vc_column_text css=”.vc_custom_1650010129696{margin-top: 5px !important;}”]1.ร่างประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการกำหนดค่าใช้จ่ายสำหรับเจ้าของพาหนะหรือผู้ควบคุมพาหนะ พ.ศ. … และร่างประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ผู้เดินทางต้องเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่าย พ.ศ. … 2.ร่างระเบียบกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การเบิกจ่ายค่าตอบแทนให้แก่เจ้าหน้าที่ซึ่งปฏิบัติงานด้านการเฝ้าระวัง การสอบสวนโรค การป้องกัน […]

ผู้ป่วยโควิด-19 Home Isolation อย่างไร? เมื่ออาศัยบ้านเดียวไม่มีห้องแยก

[vc_row css=”.vc_custom_1646315198459{margin-top: 20px !important;margin-right: 20px !important;margin-left: 20px !important;}”][vc_column][vc_column_text] ผู้ป่วยโควิด-19 Home Isolation อย่างไร? เมื่ออาศัยบ้านเดียวไม่มีห้องแยก [/vc_column_text][vc_column_text css=”.vc_custom_1649603030158{margin-top: 5px !important;}”]โรงพยาบาลราชวิถี กรมการแพทย์ แนะนำแนวทางการปฏิบัติตัวของผู้ป่วยโควิด-19 ในการทำ Home Isolation กรณีที่ไม่มีห้องแยกให้กักตัวในบ้าน นายแพทย์สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ อธิบดีกรมการแพทย์ กล่าวว่า ปัจจุบัน โควิด-19 สายพันธุ์ “โอมิครอน” ทำให้มีผู้ติดเชื้อสูงมากกว่าหมื่นรายต่อวัน แต่ผู้ป่วยส่วนใหญ่อาการไม่รุนแรง ทำให้ผู้ป่วยที่มีอาการน้อยสามารถรักษาตัวที่บ้านได้ โดยอาจไม่จำเป็นต้องได้รับการดูแลรักษาแบบผู้ป่วยในของโรงพยาบาล สำหรับผู้ที่เข้าเกณฑ์ในการทำ Home Isolation ได้แก่ ผู้ติดเชื้อที่มีอาการเล็กน้อย หรือไม่แสดงอาการ[/vc_column_text][vc_column_text css=”.vc_custom_1649919816445{margin-top: 5px !important;}”]มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง อาจมีโรคร่วมที่รักษา และสามารถควบคุมได้ตามดุลยพินิจของแพทย์ , มีอายุน้อยกว่า 75 ปี และยินยอมแยกตัวในที่พักของตนเอง ทั้งนี้ แนวทางการดูแลผู้ป่วยโควิดที่ทำ Home Isolation อาจปรับได้ตามดุลยพินิจของแพทย์ […]

ติดโควิดซ้ำ สายพันธุ์โอมิครอน อันตรายแค่ไหน

ติดโควิดซ้ำ สายพันธุ์โอมิครอน อันตรายแค่ไหน

[vc_row css=”.vc_custom_1646315198459{margin-top: 20px !important;margin-right: 20px !important;margin-left: 20px !important;}”][vc_column][vc_column_text] ติดโควิดซ้ำ สายพันธุ์โอมิครอน อันตรายแค่ไหน [/vc_column_text][vc_column_text css=”.vc_custom_1649351226883{margin-top: 5px !important;}”]การติดเชื้อโควิด-19ซ้ำอีกรอบ หลังจากเคยป่วยมาแล้ว คงไม่ใช่เรื่องแปลกอะไรในขณะที่ตัวเลขผู้ติดเชื้อและเสียชีวิตยังคงสูงอย่างต่อเนื่องท่ามการระบาดของ “โอมิครอน” วันที่ 7 เมษายน 2565 ผู้ป่วยโควิด-19 ที่หายจากอาการป่วยทุกคนมีสิทธิได้รับเชื้ออีกครั้ง หากไม่ดูแลป้องกันตนเองและผู้อื่นอย่างเคร่งครัด แต่การติดเชื้อซ้ำอีกรอบจะแตกต่างจากครั้งแรก โดยมีปัจจัยในส่วนของสายพันธุ์ และการเว้นระยะห่างของการติดเชื้อเข้ามาเกี่ยวข้อง[/vc_column_text][vc_column_text css=”.vc_custom_1649351242923{margin-top: 5px !important;}”] ติดโควิดซ้ำ เกิดจากอะไร กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้เผยแพร่คลิปอธิบายเกี่ยวกับการติดเชื้อโควิด-19 ซ้ำ เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2565 ว่า ผู้ที่เคยติดเชื้อโควิด-19 แล้วสามารถติดเชื้อซ้ำได้อีก อีกทั้งยังเน้นย้ำว่า การฉีดวัคซีนเพียง 2 เข็ม ไม่สามารถป้องกันการติดเชื้อของสายพันธุ์โอมิครอนได้ แต่สามารถป้องกันการเสียชีวิตได้สูง ด้าน ศ.นพ.ยง ภู่วรวรรณ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยาคลินิก ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ […]

ยาสามัญประจำบ้านที่ควรมีติดบ้านช่วง โควิด-19 ระบาดหนัก?

ยาสามัญประจำบ้านที่ควรมีติดบ้านช่วง โควิด-19 ระบาดหนัก?

[vc_row css=”.vc_custom_1646315198459{margin-top: 20px !important;margin-right: 20px !important;margin-left: 20px !important;}”][vc_column][vc_column_text] ยาสามัญประจำบ้านที่ควรมีติดบ้านช่วง โควิด-19 ระบาดหนัก? [/vc_column_text][vc_column_text css=”.vc_custom_1649350715667{margin-top: 5px !important;}”]เปิดลิสต์ “ยาสามัญประจำบ้าน” ต้องมีติดบ้านไว้อุ่นใจกว่า หากติดเชื้อ “โควิด-19” ควรกินยาตัวไหนเพื่อประคองอาการในเบื้องต้น และหลังจากเข้าระบบการรักษาแล้ว แพทย์จะจ่ายยาตัวไหนเพิ่มเติมให้อีกบ้าง? การแพร่ระบาดของโควิด-19 ในไทย ยังอยู่ในระดับน่ากังวล เพราะมีผู้ติดเชื้อจำนวนมากอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นการเตรียม “ยาสามัญประจำบ้าน” ที่ใช้ “รักษาอาการโควิด-19” เบื้องต้น จึงเป็นสิ่งที่ต้องให้ความสำคัญ เพราะไม่มีใครรู้ได้ว่าจะเสี่ยงติดเชื้อเมื่อใด ชวนรู้จัก “ยาสามัญประจำบ้าน” ที่ช่วยรักษาหรือบรรเทาอาการโควิด-19 ที่ควรมีติดบ้านไว้ และหากติดเชื้อโควิดและติดต่อเจ้าหน้าที่เพื่อเข้าระบบการรักษาแล้ว แพทย์จะจ่ายยาตัวไหนให้ผู้ป่วยเพิ่มเติมบ้าง?[/vc_column_text][vc_column_text css=”.vc_custom_1649350761028{margin-top: 5px !important;}”] 1. ยาสามัญประจำบ้านที่ควรมีไว้เพื่อรักษาโควิด-19 ในเมื่อตอนนี้ใครๆ ก็สามารถติดโควิด-19 ได้ง่ายขึ้น เนื่องจากโควิดโอมิครอนมีการกลายพันธุ์เพิ่มอีก และยิ่งแพร่ระบาดได้เร็วกว่าเดิม ดังนั้นทุกคนต้องรู้เท่าทันข่าวสารและเตรียมพร้อมไว้เสมอ โดยเฉพาะการเตรียม “ยาสามัญประจำบ้าน” และ “อุปกรณ์เช็กอาการป่วย” ที่ต้องมีติดบ้านไว้ ได้แก่ ยาสามัญประจำบ้านช่วงโควิด-19 ยาประจำตัว หากใครมีโรคประจำตัวช่วงนี้ควรวางแผนในการสำรองยาให้สามารถรับประทานได้ระยะยาว 1-2 […]